โรงพย าบาลจุฬาภรณ์ให้นักเรียนอายุ 10 ถึง 18 ปี รับ ซิโนฟาร์ม

โรงพย าบาลจุฬาภรณ์ให้นักเรียนอายุ 10 ถึง 18 ปี รับ ซิโนฟาร์ม

เรียกได้ว่า ไทยยังต้องลุ้นรายวันว่ายอดผู้ CV 2019 หลังยอดยังสูงต่อเนื่องมาตลอดสัปดาห์ รวมถึงการประกาศใช้ พ.ร.บ. ฉบับแก้ไข ที่จะมาแทน พ.ร.ก.ฉุกเฉิน

ที่กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี เมื่อวันที่ 7 ก.ย. นายสาธิต ปิตุเตชะ รมช.สาธารณสุข เป็นประธานการลงนามบันทึกความเข้าใจความร่วมมือการเชื่อมต่อฐานข้อมูลผู้ติดCV19 เพื่อยกระดับการเข้าถึงการรักษาของผู้ป่ วยระหว่างกรมการแพทย์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ และภาคประชาสังคม โดยนายสาธิตกล่าวว่า ทั้ง 6 หน่วยงานจะเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลการดูแลผู้ ติดCV19 ในเขต กทม.และปริมณฑล อาทิ

ข้อมูลผู้ป่ว ย ข้อมูลการจัดรถ สถานะรับ-ส่งผู้ป่ ว ย ติดตามอาการ การปรึกษาแพทย์ด้วยระบบเทเลเมดิซีน เพื่อให้ทำงานง่ายยิ่งขึ้น โดยจะนำไปใช้กับโรงพยาบาล สถานพยาบาล คลินิกที่รับผิดชอบดูแลผู้ป่วยที่เข้าระบบแยกกักที่บ้าน หรือ HI และศูนย์พักคอย หรือ CI เพื่อลดปัญหาความซ้ำซ้อนของข้อมูล จะทำให้ ข้อมูลผู้ป่วยโควิดที่ทุกหน่วยงานมีอยู่เข้ามาสู่ฐานข้อมูลเดียวกันง่ายต่อการบริหารจัดการ ลดปัญหารายชื่อซ้ำซ้อนและตกหล่น บริหารจัดการรับ-ส่งต่อผู้ที่มีอาการมากไปรักษาในโรงพย าบาลได้อย่างไร้รอยต่อ รวมถึงจ่ายยาฟาวิพิราเวียร์ให้กับผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับ ย า ได้ทันท่วงที

ให้อำนาจ คกก.โ ร ค ติ ด ต่อฯมากขึ้น นายสาธิตยังกล่าวถึงความคืบหน้าการแก้ไขร่าง พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ. ...ว่า ขณะนี้ร่าง พ.ร.บ. โ ร ค ติดต่อ อยู่ที่คณะกรรมการกฤษฎีกา ยังไม่ได้นำกลับเข้า ครม. เบื้องต้นกฎหมายนี้ได้ออกแบบให้ใช้ได้กระชับมากขึ้น ในกรณีโรค ติดต่อร้ายแรงหรือฉุกเฉิน ซึ่งไม่กระทบสิทธิประชาชน ทั้งแก้ไขให้คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ มีอำนาจมากขึ้นในการกำกับนโยบายให้ฝ่ายพื้นที่ได้ปฏิบัติ ก่อนหน้านี้ อาจจะมีปัญหาว่าแต่ละจังหวัดปฏิบัติแตกต่างกัน พ.ร.บ.ที่แก้ไขนี้จะสามารถใช้อำนาจของคณะกรรมการ โรคติดต่อแห่งชาติ ในระดับนโยบายไปทำเรื่องควบคุม โรคที่ตรงกัน ปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ส่วนจะเข้า ครม.เมื่อไหร่นั้น ยังไม่ทราบ ต้องรอกฤษฎีกา

คาดประกาศใช้ใน ก.ย.นี้ ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ร่าง พ.ร.บ.โรคติดต่อฉบับแก้ไขนั้น จะให้อำนาจคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ มีอำนาจเหมือนอำนาจหน้าที่ของ ศบค.ในปัจจุบัน โดยในยามปกติจะมีคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติที่มีรองนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน แต่เมื่อมีการ ระ บ า ด และนายกรัฐมนตรีมีการประกาศให้โรคนั้นเป็นโรคติดต่ออันตราย หรือโรคติดต่อฉุกเฉิน คณะกรรมการโรคติดต่อฯจะถูกยกระดับทันทีแบบอัตโนมัติ มีอำนาจในการสั่งควบคุมป้องกันโรค สั่งเคอร์ฟิว

สั่งปิดกิจการต่างๆได้ โดยไม่ต้องอาศัยการประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน และไม่ต้องตั้งคณะทำงานหรือคณะกรรมการที่คล้ายกับ ศบค.ขึ้นมาใหม่แต่อย่างใด แต่สามารถตั้งคณะทำงานต่างๆ เพิ่มเติมได้ ทั้งนี้ มีนายกฯ เป็นผู้สั่งการ และคาดว่าร่าง พ.ร.บ.โรคติดต่อ ฉบับใหม่นี้น่าจะ แล้วเสร็จ และบังคับใช้ภายในเดือน ก.ย.นี้ เนื่องจาก พ.ร.ก.ฉุกเฉินจะมีอายุการใช้งานถึงสิ้นเดือน ก.ย.นี้

อ่านเพิ่มเติม

:: ร่วมแสดงความคิดเห็นกับสิ่งนี้

:: เนื้อหาข่าวที่น่าสนใจ